PPP MODEL

"PPP" (or the "3Ps") stands for Presentation, Practice and Production - a common approach to communicative language teaching that works through the progression of three sequential stages.
   
Presentation represents the introduction to a lesson, and necessarily requires the creation of a realistic (or realistic-feeling) "situation" requiring the target language to be learned.  This can be achieved through using pictures, dialogs, imagination or actual "classroom situations".  The teacher checks to see that the students understand the nature of the situation, then builds the "concept" underlying the language to be learned using small chunks of language that the students already know.  Having understood the concept, students are then given the language "model" and angage in choral drills to learn statement, answer and question forms for the target language.  This is a very teacher-orientated stage where error correction is important.

Practice usually begins with what is termed "mechanical practice" - open and closed pairwork.  Students gradually move into more "communicative practice" involving procedures like information gap activities, dialog creation and controlled roleplays.  Practice is seen as the frequency device to create familiarity and confidence with the new language, and a measuring stick for accuracy.  The teacher still directs and corrects at this stage, but the classroom is beginning to become more learner-centered.
  
Production is seen as the culmination of the language learning process, whereby the learners have started to become independent users of the language rather than students of the language. The teacher's role here is to somehow facilitate a realistic situation or activity where the students instinctively feel the need to actively apply the language they have been practicing. The teacher does not correct or become involved unless students directly appeal to him/her to do so.

The PPP approach is relatively straight forward, and structured enough to be easily understood by both students and new or emerging teachers.  It is a good place to start in terms of applying good communicative language teaching in the classroom.  It has also been criticized considerably for the very characteristic that makes it the easiest method for 'beginner' teachers, that is, that it is far too teacher-orientated and over controlled.  A nice alternative to 'PPP' is Harmer's 'ESA' (Engage/Study/Activate)
Source: http://www.englishraven.com/method_PPP.html


รูปแบบการสอนภาษาเพื่อสื่อสารตามธรรมชาติ เป็นการบูรณาการวิธีการสอนต่าง ๆ 
                            วิธีสอนแบบ 3P หรือ 3 ขั้นตอน ได้แก่
    ขั้นนำ เสนอ (Presentation)
    ขั้นฝึก (Practice)
    ขั้นนำ ไปใช้ (Production)
                1. ครูนำ เสนอบทเรียนในขั้นนำ เสนอ (P1 = Presentation) โดยนำ เสนอเป็นรูปประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร (Whole Language) ไม่แยกสอนเป็นคำ ๆ นักเรียนจะเข้าใจภาษานั้นโดยภาพรวม หลีกเลี่ยงการแปลคำ ต่อคำ การนำ เสนอต้องชัดเจน และตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจสิ่งที่ครูนำ เสนอนั้น
               2. ครูใช้กิจกรรมในขั้นฝึก (P2 = Practice) อย่างหลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ฝึกหัดและพูดในกลุ่มใหญ่ (Whole Group) ก่อน เพื่อให้นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษา ฝึกกลุ่มย่อยโดยใช้การฝึกลูกโซ่ (Chain Drill) เพื่อให้โอกาสนักเรียนได้สื่อสารทุกคน ฝึกคู่ (Pair Work) เปลี่ยนกันถาม-ตอบ เพื่อสื่อสารตามธรรมชาติ แล้วจึงให้นักเรียนฝึกเดี่ยว (Individual) โดยฝึกพูดกับครูทีละคน การฝึกเดี๋ยวนี้ครูจะเลือกนักเรียนเพียง 2-3 คน เพื่อทำ เป็นตัวอย่างในแต่ละครั้ง กิจกรรมขั้นนี้ใช้เวลา แต่นักเรียนจะได้ปฏิบัติจริง ครูเพียงแต่คอยกำ กับดูแลให้การฝึกดำ เนินไปอย่างมีความหมายและสนุก
               3. กิจกรรมขั้นนำ เสนอผลงาน P3 (Production) เป็นขั้นที่นักเรียนจะนำ ภาษาไปใช้ ครูอาจจะให้ทำ แบบฝึกหัด อ่านและเขียนร้องเพลง หรือเล่นเกม ที่สืบเนื่องและเกี่ยวข้องกับภาษาที่เรียนมาในขั้นที่ 1 และ 2 อาจให้ทำ งานเป็นการบ้านหรือสร้างสรรค์ผลงาน              4. ใหม่จากความคิดของนักเรียนเอง ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนได้เรียนเรื่องเวลา กำ หนดเวลา ถาม-ตอบ เกี่ยวกับเวลาแล้วก็สามารถคิดตารางเวลาเพื่อกำ หนดการเดินรถโดยสารของตนเองโดยสมมุติได้ในการจัดกิจกรรมขั้นฝึกและนำ เสนอผลงาน สามารถนำกิจกรรมเสริมทางภาษาที่ครูมีความถนัด เช่น เกมทางภาษา เพลงหรือกิจกรรมเกี่ยวกับจังหวะ การวาดภาพ ฯลฯ มาใช้เพื่อช่วยส่งเสริมความคิด และช่วยให้การจัดการเรียนการสอนภาษาเป็นภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยสอนทักษะฟัง-พูด-อ่าน และเขียนไปพร้อม ๆกัน ด้วยวิธีบูรณาการทักษะที่ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง

             สื่อการเรียนการสอน
                                             1. ของจริง (Reality)

                                 2. ภาพที่ผลิตขึ้นเองและภาพจากหนังสือพิมพ์ (Pictures)

                                 3. วรรณคดีสำ หรับอ่านให้นักเรียนฟัง (Literature)

                                 4. ท่าทาง (Gesture)

                                 5. วิธีการและกิจกรรม (Activities)

                                 6. เพลงและเกม (Songs and Games)
                                                  

                                 7. บทบาทสมมุติ (Role Play)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น